สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code สวาย

รหัสวัด
04330709001

ชื่อวัด
สวาย

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
วันที่ 22 เดือน มีนาคม ปี 2526

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 14 เดือน กันยายน ปี 2564

ที่อยู่
บ้านสวาย

เลขที่
86

หมู่ที่
1

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
สวาย

เขต / อำเภอ
ปรางค์กู่

จังหวัด
ศรีสะเกษ

ไปรษณีย์
33170

เนื้อที่
18 ไร่ - งาน 3 ตารางวา

มือถือ
0615255806

คุณสมบัติวัด

เป็นสำนักปฏิบัติธรรม
เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เป็นมูลนิธิ
เป็นสมาคม

จำนวนเข้าดู : 74

ปรับปรุงล่าสุด : 28 มิถุนายน พ.ศ. 2565 17:20:00

ข้อมูลเมื่อ : 24 มิถุนายน พ.ศ. 2565 20:33:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

ประวัติความเป็นมาของวัดสวาย                                                                                                       วัดสวายตั้งอยู่ที่เลขที่  ๘๖  หมู่ที่ ๑  ตำบลสวาย  อำเภอปรางค์กู่  จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย  และเขตการปกครองคณะสงฆ์  ภาค ๑๐  สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐  โดยมีพระเพาะ  มนุญฺโญ  (พันธมาศ)  เป็นผู้ริ่เริ่มก่อสร้าง  มีนายบี้  จันสว่าง  เป็นผู้ใหญ่บ้านสวาย  เดิมตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของหมู่บ้านสวาย  (บริเวณศาลปู่ตา (ย๊ะจุ๊) ปัจจุบัน)  ให้ชื่อว่าวัดราษฎร์บูรณะ (สวายสนิท)  ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒  จึงได้ย้ายมาสร้างด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน  โดยมีนายเดีย  มะณีล้ำ  และครูแคว  บุราครเป็นผู้ถวายที่ดินในการก่อสร้าง รวมที่ดินเดิมมี  ๖ ไร่  ๒ งาน  ต่อมาได้ขยายเพิ่มเป็น ๑๘ ไร่  ๒๐  ตารางวา  โดยมีพระเปรียว ชวโน  (มะณีล้ำ)  เป็นผู้ถวาย และมีการซื้อที่ดินเพิ่ม  ปัจจุบันวัดสวายมีที่ดินรวม  ๑๘ ไร่  ๒๐  ตารางวา  และที่ธรณีสงฆ์  ๑๘ ไร่  รวมเป็น ๓๖  ไร่  ๒๐  ตารางวา  และมีเนื้อที่รวมป่าช้าบ้านไผ่ด้วย ประมาณ ๕๐  ไร่  โดยมีพระครูวิมลพุทธิสาร  (คำนุ  พุทฺธิสาโร)  เป็นเจ้าอาวาส
 ทำเนียบเจ้าอาวาส  วัดสวายมีการปกครองขึ้นตรงต่อคณะสงฆ์สังกัดมหานิกาย  คณะสงฆ์ภาค ๑๐  หนตะวันออก  มีลำดับเจ้าอาวาส  ดังนี้
๑. พระเพาะ  มนุญฺโญ (พันธมาศ)   พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๔
๒. พระวินัย  มะณีล้ำ                                 พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๖
๓. พระสะ  สุภาวหา พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗
๔. พระสมบูรณ์  ทองหล่อ พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗
๕. พระเกตุ  พ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐
๖. พระช่วง  ชวโน (กุหลาบกุลี) พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๒
๗. พระสมพงษ์  เตชวโร (พันธมาศ) พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๑๗
๘. พระคำบู่  ญาณทีโป  (วิถุนัด) พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘
๙. พระเจียม  ปณฺณวโร (พันธมาศ) พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙
๑๐. พระดุม  ทุล์ลโภ  (สภาวหา) พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๐
๑๑. พระประสพ  จนฺทสาโร  (สุธาอรรถ) พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๕
๑๒. พระครูวิมลพุทธิสาร (คำนุ พุทฺธิสาโร) พ.ศ. ๒๕๒๖-ปัจจุบัน (๒๕๖๑)
นโยบายและการพัฒนาวัด
 
วัดสวาย  “เป็นแดนศีล  ถิ่นธรรม” และเป็นศูนย์ปฏิบัติและแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ได้กำหนดแผนงานในการพัฒนาวัดไว้อย่างเป็นรูปแบบชัดเจน ซึ้งทางวัดได้กำหนดนโยบายการบริหารงานด้านต่างๆ ตามแผนงานแม่แบบที่กำหนดไว้ มีดังนี้
๑. แผนงานด้านการปกครอง
๒. แผนงานด้านการศึกษา/อบรม
๓. แผนงานด้านการศึกษาสงเคราะห์
๔. แผนงานด้านการเผยแผ่
๕. แผนงานด้านสาธารณูปการ
๖. แผนงานด้านสาธารณสงเคราะห์
อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่สำคัญภายในวัด  (กำลังเรียบเรียงดำเนินการ)
ทำเนียบพระเปรียญและพระบัณฑิต

ภาพกิจกรรม/งานเผยแผ่ประวัติความเป็นมาของวัดสวาย                                                                                                       วัดสวายตั้งอยู่ที่เลขที่  ๘๖  หมู่ที่ ๑  ตำบลสวาย  อำเภอปรางค์กู่  จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย  และเขตการปกครองคณะสงฆ์  ภาค ๑๐  สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐  โดยมีพระเพาะ  มนุญฺโญ  (พันธมาศ)  เป็นผู้ริ่เริ่มก่อสร้าง  มีนายบี้  จันสว่าง  เป็นผู้ใหญ่บ้านสวาย  เดิมตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของหมู่บ้านสวาย  (บริเวณศาลปู่ตา (ย๊ะจุ๊) ปัจจุบัน)  ให้ชื่อว่าวัดราษฎร์บูรณะ (สวายสนิท)  ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒  จึงได้ย้ายมาสร้างด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน  โดยมีนายเดีย  มะณีล้ำ  และครูแคว  บุราครเป็นผู้ถวายที่ดินในการก่อสร้าง รวมที่ดินเดิมมี  ๖ ไร่  ๒ งาน  ต่อมาได้ขยายเพิ่มเป็น ๑๘ ไร่  ๒๐  ตารางวา  โดยมีพระเปรียว ชวโน  (มะณีล้ำ)  เป็นผู้ถวาย และมีการซื้อที่ดินเพิ่ม  ปัจจุบันวัดสวายมีที่ดินรวม  ๑๘ ไร่  ๒๐  ตารางวา  และที่ธรณีสงฆ์  ๑๘ ไร่  รวมเป็น ๓๖  ไร่  ๒๐  ตารางวา  และมีเนื้อที่รวมป่าช้าบ้านไผ่ด้วย ประมาณ ๕๐  ไร่  โดยมีพระครูวิมลพุทธิสาร  (คำนุ  พุทฺธิสาโร)  เป็นเจ้าอาวาส

 ทำเนียบเจ้าอาวาส  วัดสวายมีการปกครองขึ้นตรงต่อคณะสงฆ์สังกัดมหานิกาย  คณะสงฆ์ภาค ๑๐  หนตะวันออก  มีลำดับเจ้าอาวาส  ดังนี้
๑. พระเพาะ  มนุญฺโญ (พันธมาศ)   พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๔
๒. พระวินัย  มะณีล้ำ                                 พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๖
๓. พระสะ  สุภาวหา พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗
๔. พระสมบูรณ์  ทองหล่อ พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗
๕. พระเกตุ  พ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐
๖. พระช่วง  ชวโน (กุหลาบกุลี) พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๒
๗. พระสมพงษ์  เตชวโร (พันธมาศ) พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๑๗
๘. พระคำบู่  ญาณทีโป  (วิถุนัด) พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘
๙. พระเจียม  ปณฺณวโร (พันธมาศ) พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙
๑๐. พระดุม  ทุล์ลโภ  (สภาวหา) พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๐
๑๑. พระประสพ  จนฺทสาโร  (สุธาอรรถ) พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๕
๑๒. พระครูวิมลพุทธิสาร (คำนุ พุทฺธิสาโร) พ.ศ. ๒๕๒๖-ปัจจุบัน (๒๕๖๑)
นโยบายและการพัฒนาวัด
 

รายการพระ

คำนุ พุทธิสาโร

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 30-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-07-2565

สายัน

ข้อมูลเมื่อ : 01-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-07-2565

ธีรวัตร อคฺคธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 01-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-07-2565

เปรียว เตชาโร

ข้อมูลเมื่อ : 01-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-07-2565

เหมือน หฎฺฐมโน

ข้อมูลเมื่อ : 01-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-07-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

ยังไม่มีข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

ยังไม่มีข้อมูลปูชนียวัตถุสถาน

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น