สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดสำโรงเก่า

รหัสวัด
04330802010

ชื่อวัด
วัดสำโรงเก่า

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
วันที่ 31 เดือน พฤษภาคม ปี 2553

วันรับวิสุงคามสีมา
-

ที่อยู่
บ้านสำโรงเก่า

เลขที่
403

หมู่ที่
9

ซอย
-

ถนน
หมายเลข 2335(สำโรงเกียรติ-กันทรลักษ์)

แขวง / ตำบล
บักดอง

เขต / อำเภอ
ขุนหาญ

จังหวัด
ศรีสะเกษ

ไปรษณีย์
33150

เนื้อที่
10 ไร่ - งาน 58 ตารางวา

มือถือ
0831255749

คุณสมบัติวัด

เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนเข้าดู : 109

ปรับปรุงล่าสุด : 4 สิงหาคม พ.ศ. 2565 21:07:22

ข้อมูลเมื่อ : 24 มิถุนายน พ.ศ. 2565 20:33:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

ประวัติวัดสำโรงเก่า
 
     วัดสำโรงเก่า   ตั้งอยู่  เลขที่ 403  หมู่ที่  9   ตำบลบักดอง   อำเภอขุนหาญ   จังหวัดศรีสะเกษ
 
คำว่า  สำโรง  เป็นชื่อของต้นไม้ชนิดหนึ่ง  เพราะฉะนั้นคำว่า    บ้านสำโรงจึงหมายความว่า   กลุ่มคนหรือชุมชนที่มีต้นสำโรงเป็นสัญลักษณ์
       
         บ้านสำโรงเก่าเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ดั้งเดิมหมู่บ้านหนึ่งในเขตอำเภอขุนหาญ  ประชากรในหมู่บ้านนับถือพระพุทธศาสนามาแต่เดิม  จึงได้สร้างวัดขึ้นแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ห่างออกไปประมาณเกือบหนึ่งกิโลเมตรของหมู่บ้านในสมัยนั้น  โดยตั้งชื่อวัดว่า  วัดบ้านสำโรง   ตามชื่อของหมู่บ้าน    (ปัจจุบันคือวัดบ้านสำโรงเกียรติ) ชาวบ้านได้ไปทำบุญที่วัดและได้ช่วยกันทำนุบำรุงวัดเป็นอย่างดี   ต่อมาเมื่อประชากรของหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้นจึงมีคนกลุ่มหนึ่งได้พากันแยกตัวออกจากหมู่บ้านเดิม  ไปอาศัยอยู่ใกล้ ๆ กับวัดโดยตั้งชื่อหมู่บ้านว่า   บ้านสำโรงใหม่ (บางคนเรียกว่าบ้านหนองกีด) เป็นเหตุให้บ้านสำโรงเดิมมีคำว่า เก่า  ต่อท้ายชื่อหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน  เพื่อไม่ให้เรียกสับสนกับกลุ่มคนที่ตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่นั่นเอง    เมื่อเวลาผ่านไปจึงเป็นหมู่บ้านที่ใหญ่ขึ้นประชากรเพิ่มมากขึ้นในสมัยนั้นประชาชนก็ยังไปทำบุญที่วัดดังกล่าวตลอดมา  จนเมื่อปลายปี  พ.ศ. 2519   ชาวบ้านได้พิจารณาถึงความลำบากในเวลาไปทำบุญที่วัดโดยเฉพาะบุญเดือนสิบเป็นต้น (บุญแซนตา) ซึ่งจะต้องไปทำพิธีในตอนกลางคืนก่อนฟ้าสาง  จึงได้รับความลำบากมากเพราะวัดอยู่ไกล   อีกทั้งบางปีฝนตกมากและจะต้องเดินทางผ่านร่องน้ำถึงสอง แห่งคือร่องน้ำตรงทางโค้งแห่งหนึ่ง   ร่องน้ำตรงมุมทางทิศตะวันตกของโรงเรียนอีกแห่งหนึ่ง   ในสมัยนั้นยังไม่มีสะพานจะต้องเดินลุยน้ำข้ามไปจึงจะไปได้   จึงได้รับความลำบากมากเวลาฝนตกน้ำหลาก    ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นอีกแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านไปประมาณ  300 เมตร  ไปทางทิศใต้ของหมู่บ้าน    แต่เดิมที่ดินดังกล่าวนี้เป็นเนินดินเล็ก ๆ ประมาณ 3 งาน  เป็นของคุณตาโกฏิ  จึงเป็นเหตุให้คนในสมัยนั้นเรียกวัดแห่งนี้ว่า  วัดตาโกฏิ  ภายหลังทางวัดได้ขอขยายพื้นที่เพิ่มขึ้น  จนปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  19 ไร่ เศษ ต่อมาภายหลังจึงเรียกตามชื่อหมู่บ้านว่า  วัดบ้านสำโรงเก่า หลังจากนั้นเมื่อปี พ.ศ.2550  จึงมีการเสนอขออนุญาตสร้างวัดโดยการนำของ นายวัฒนา น้ำนวล  ผู้ใหญ่บ้านในสมัยนั้น  จึงเป็นเหตุให้ได้รับหนังสืออนุญาตให้สร้างวัดอย่างเป็นทางการขึ้น   เมื่อวันที่  16  มีนาคม  2550  และต่อมาจึงได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนา  มีนามว่า  วัดสำโรงเก่า  ประกาศ   ณ  วันที่   31  พฤษภาคม  พ.ศ. 2553   
           ที่พักสงฆ์บ้านสำโรงเก่ามีพระภิกษุทำหน้าที่เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ดูแลตามลำดับดังนี้
1.หลวงพ่อทอง     ..........................            จากปี  พ.ศ. 2519    ถึงปี  พ.ศ. 2520 
2.หลวงพ่อเศษ        สทฺธาทิโก                      จากปี  พ.ศ. 2520    ถึงปี  พ.ศ. 2525
3.หลวงพ่ออิน         ปภสฺสโร                         จากปี  พ.ศ. 2525    ถึงปี  พ.ศ. 2534
4.หลวงพ่ออิฐ         ปญฺญาธโร                      จากปี  พ.ศ. 2534    ถึงปี  พ.ศ. 2542
5.หลวงพ่อเพียร      จกฺกวโร                          จากปี  พ.ศ. 2542    ถึงปี  พ.ศ. 2544
6.พระธนพล            เขมนนฺโท                       จากปี  พ.ศ. 2544    ถึงปี พ.ศ. 2553
         วัดสำโรงเก่า  ได้รับประกาศตั้งเป็นวัดอย่างเป็นทางการขึ้นเมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม  พ.ศ. 2553  ดังกล่าวข้างต้น จึงต้องมีการตั้งเจ้าอาวาสเพื่อปฏิบัติหน้าที่ดังนี้
1.พระอธิการธนพล   เขมนนฺโท(พระครูเกษมวีรานุวัตร) จากปี  พ.ศ.2553  จนถึงปัจจุบัน  
 
ทำประวัติโดย  พระครูเกษมวีรานุวัตร
เจ้าอาวาสวัดสำโรงเก่า   ณ  วันที่  4  สิงหาคม  พ.ศ. 2565

เอกสารเกี่ยวกับวัด 1 : (825.73 kb)

เอกสารเกี่ยวกับวัด 2 : (1.03 mb)

เอกสารเกี่ยวกับวัด 3 : (967.89 kb)

แผนที่ภาพ

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระครูเกษมวีรานุวัตร เขมนนฺโท

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 15-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-08-2565

พระอภินันท์ ฐิตธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 04-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-08-2565

พระณัฐพล ฐานทตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 04-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-08-2565

พระมหาสุพจน์ นิสฺสมฺมการี

ข้อมูลเมื่อ : 04-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 21-08-2565

พระเทือง ฐิตสทฺโธ

ข้อมูลเมื่อ : 04-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-08-2565

พระมาลี เขมิโย

ข้อมูลเมื่อ : 04-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-08-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

ยังไม่มีข้อมูลปูชนียวัตถุสถาน

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น