สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code จินดาราม

รหัสวัด
04331505005

ชื่อวัด
จินดาราม

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
วันที่ 20 เดือน กันยายน ปี 2545

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 12 เดือน พฤศจิกายน ปี 2553

ที่อยู่
บ้านหนองระไง

เลขที่
1

หมู่ที่
7

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
รุ่งระวี

เขต / อำเภอ
น้ำเกลี้ยง

จังหวัด
ศรีสะเกษ

ไปรษณีย์
33130

เนื้อที่
23 ไร่ ไร่ - งาน - ตารางวา

Line
พระครูจินดากัลยาณกิจ

Facebook
คลิกดู

โทรศัพท์
0884776225

คุณสมบัติวัด

เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนเข้าดู : 47

ปรับปรุงล่าสุด : 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 18:15:47

ข้อมูลเมื่อ : 24 มิถุนายน พ.ศ. 2565 16:50:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

ประวัติวัดจินดาราม
          พื้นที่  (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๐๐) นับย้อนอดีตไปราว ๑๐๐ ปีให้หลัง ก่อนจะมาเป็นวัดจินดารามอย่างที่เราเห็นในปัจจุบันนั้น อาณาบริเวณในแถบนี้ยังคงเป็นป่าดงเต็มไปด้วยสิงสาลาสัตว์ รกชัฏไปด้วยรุกขชาติ ไร้ชาวบ้านอยู่อาศัย เป็นที่สัญจรไปมาของผู้คนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงซึ่งโดยส่วนมากเลี้ยงชีพด้วยเกษตรกรรม โดยแรกเริ่มมีหมู่บ้านเก่าแก่มาแต่ก่อน ๒ หมู่บ้าน คือ ในด้านทิศเหนือ มีหมู่บ้านชื่อว่า บ้านน้ำเกลี้ยง และ ในด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีอีกหมู่บ้านชื่อว่า บ้านสบาย ซึ่งเดิมทีพื้นที่ในแถบนี้ขึ้นตรงต่อตำบลเขิน อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ต่อมาชาวบ้านที่อาศัยอยู่ที่บ้านสบายเดิมได้ขยับขยายที่อยู่อาศัยมาสร้างเหย้าสร้างเรือนทำมาหากินในพื้นที่สัญจรไปมาระหว่างสองหมู่บ้านนั้นจึงเริ่มมีบ้านเรือนมากขึ้นตามลำดับ ทั้งนี้ ก็เพราะประชาชนทยอยอพยพมาตั้งถิ่นฐานอันเหมาะสมแก่การดำเนินชีวิต ซึ่งมีทั้งคนในพื้นที่ใกล้เคียงและพื้นที่อื่น ๆ ผสมปนเปกันไป
         (พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๓๐) เมื่อกาลสมัยผ่านพ้นไป จากเดิมที่มีบ้านเรือนเพียงสองสามหลังคา ต่อมาได้เพิ่มมากขึ้นจนกลายเป็นชุมชนอีก ๒ ชุมชนในอาณาบริเวณเป็นที่สัญจรไปมาของหมู่บ้านใหญ่สองหมู่บ้านนั้น นั่นก็คือ ชุมชนหมู่บ้านหนองแลง และชุมชนหมู่บ้านหนองระไง ระหว่าง ๒ ชุมชนชุมชนบ้านหนองแลงเปรียบเสมือนพี่ ส่วนชุมชนบ้านหนองระไงเปรียบเสมือนน้อง เพราะบ้านหนองแลงเป็นชุมชนที่หนาแน่นขึ้นก่อน มีเสาหลักทั้ง ๓ เสาคือ บ้าน วัด และโรงเรียน ทั้งสองหมู่บ้านต่างได้พึ่งพาอาศัยกัน โดยเฉพาะชุมชนบ้านหนองระไงได้ไปร่วมพิธีกรรม ทำบุญสุนทานหรือบุญประเพณีทางศาสนาร่วมกับพี่น้องชาวบ้านหนองแลงอยู่เนืองๆ เนื่องด้วยขณะนั้นชุมชนบ้านหนองระไงยังไม่มีวัดเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
        ย้อนอดีตไปราว ๕๐ ปีให้หลังก่อนถึงปัจจุบันเมื่อมชุมชนเกิดขึ้นในเพ็ญรถขับเป็นป่าดงเพิ่มขึ้น ๒ ชุมชนกลายเป็น ๔ ชุมชนในพื้นที่สัญจรไปมาเคียงกันพื้นที่ในบริเวณนี้ก็ยังไม่เจริญยังคงเป็นพื้นที่ไม่มีไฟฟ้าใช้อยู่ก่อน แต่คงเป็นพื้นที่ที่มีป่าดงรออยู่บ้างโดยเฉพาะบริเวณทางด้านทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้านหนองระดิ่งซึ่งเป็นที่ตั้งของป่าแถนต่อมาภายหลังเมื่อเป็นอำเภอน้ำเกลี้ยงขึ้นสมบูรณ์ชุมชนบ้านหนองแสงและหนองระใจจึงได้ชื่นกับตำบลรุ่งระวีหลังจากนั้นความเจริญต่างๆก็เริ่มตามมาโดยเริ่มจากการมีไฟฟ้าใช้ แต่ถึงอย่างไรก็ตามในสมัยนั้นบริเวณแถบนี้ก็ยังคงเป็นถิ่นฐานทุรกันดารห่างไกลความเจริญอยู่มาก (พ.ศ. ๒๕๓๐-ปัจจุบัน) กล่าวเฉพาะชุมชนบ้านหนองระวังในขณะนั้นยังคงไม่มีวัดที่ถูกต้องไว้เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจมีเพียงสำนักสงฆ์เล็ก ๆ ซึ่งมีให้คร่ำคร่อยู่เพียงหลังเดียวตั้งอยู่ในพื้นที่ป่ารกชัฏริมฝั่งหนองน้ำทางด้านทิศตะวันออกค่อนเฉียงเหนือของหมู่บ้านพอเป็นที่พำนักจำพรรษาของพระสงฆ์ซึ่งชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างขึ้นเพื่อให้มีศาสนสถานเป็นที่ทำบุญประเพณีทางศาสนาซึ่งเดิมที่มีพระสงฆ์อยู่จําพรรษาเพียงรูปเดียวหรือของรูปเท่านั้นพอพระสงฆ์ที่จำพรรษาได้ลาสิกขาหรือจาริกแสวงบุญไปยังที่อื่นกุกก็ถูกปล่อยร้างไว้เมื่อถูกพายุพัดฝนตกรครัวก็คร่ำคร่าผุพังเพราะไม่มีผู้ดูแลรักษา
การสร้างวัด
        ต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ผู้นำหมู่บ้านหนองระไงนำโดยผู้ใหญ่บ้านในสมัยนั้นโดยความเห็นชอบของชาวบ้านได้ไปอาราธนาพระอภินันท์กลยาโณ (ซึ่งต่อมาคือพระครูจินดากัลยาณกิจเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) มาอยู่จำพรรษาและได้ถวายการอุปถัมภ์บำรุงด้วยปัจจัย ๔ เป็นอย่างดีนับเป็นโชคดีของชาวบ้านหนองระฆังที่ได้พระสงฆ์นักพัฒนาผู้มอบกายถวายชีวิตเป็นพุทธบูชามาเป็นเนื้อนาบุญโดยท่านได้ตั้งใจประพฤติปฏิบัติดำรงตนตามหลักพระธรรมวินัย
น่าพาญาติโยมสร้างและพัฒนาอารามเรื่อยมาตามลำดับตั้งแต่ต้นโดยเริ่มจากการสร้างเสนาสนะกุฎีที่พักสงฆ์ที่สำคัญขึ้นจนได้รับหนังสืออนุญาตให้ตั้งวัดอย่างถูกต้องเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓ ซึ่งเดิมที่วัดจินดารามมีนามว่า“ วัดท่าวารีหนองระฆังต่อมาจึงได้ปรากฏนามว่า“ วัดจินดาราม” ฐานะเป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายตั้งอยู่ที่บ้านหนองระไงหมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งระวีอำเภอน้ำเกลี้ยงจังหวัดศรีสะเกษในเนื้อที่ประมาณ ๒๓ ไร่เศษซึ่งบริจาคโดยนายแก้วใสราษฎรบ้านหนองระไงในช่วงแรกของการเริ่มสร้างและพัฒนาวัดนั้นพื้นที่ในบริเวณตั้งวัดในปัจจุบันนี้ยังคงมีป่ารกชัฏการคมนาคมไม่สะดวกเนื่องจากถนนหนทางยังไม่ถูกตัดผ่านมีเพียงแค่ทางทรายลักษณะเหมือนทางเกวียนเป็นที่สัญจรผ่านไปมาจนต่อมาเมื่อวัดได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องกอปรกับถิ่นฐานบ้านช่องของราษฎรชาวบ้านหนองระไงในละแวกใกล้เคียงหนาแน่นขึ้นทางการจึงได้มีการตัดถนนผ่านเป็นถนนลูกรังพอทำให้การสัญจรไปมาสะดวกมากขึ้นในส่วนของการสร้างและการพัฒนาวัดเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันได้นำพาญาติโยมผู้มีศรัทธาเลื่อมใสจากต่างถิ่นฐานเช่นจังหวัดกรุงเทพมหานครชลบุรีระยองบุรีรัมย์รวมถึงลูกศิษย์ลูกหาในพื้นที่ใกล้เคียงโดยเฉพาะญาติโยมชาวบ้านหนองระฆังสร้างและพัฒนาวัดโดยพุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้ร่วมด้วยช่วยกันบริจาคปัจจัยอุปถัมภ์บำรุงวัดจินดารามเพื่อใช้ในการก่อสร้างและพัฒนาวัดเรื่อยมาจนเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเป็นวัดที่ถูกต้องสมบูรณ์ในทางพระพุทธศาสนามีเสนาสนะน้อยใหญ่อันประกอบไปด้วย
อุโบสถทรงไทยประยุกต์กว้าง ๑๒ เมตรยาว ๒๕ เมตร
กุฏิรับรองและสำนักงานรองเจ้าคณะอำเภอ ๑ หลัง
กุฏิสงฆ์กว้าง 5 เมตรยาว ๑๐ เมตร ๕ หลัง
ศาลาการเปรียญกว้าง ๒๐ เมตรยาว ๓๐ เมตร
อาคารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด ๑ หลัง
ห้องสมุดและอาคารพิพิธภัณฑ์ ๑ หลัง
ศาลาโรงครัว
สนามเด็กเล่น
ห้องสุขาสาธารณะรวม ๓๐ ห้อง
เมรุ
ศาลาบำเพ็ญกุศล ๑ หลัง
หอระฆัง
กุฏิเจ้าอาวาส
ซุ้มประตูและกำแพงวัด·
        นอกจากวัดจินดารามจะมีเสนาสนะน้อยใหญ่สำหรับอยู่จำพรรษาปฏิบัติศาสนกิจของพระสงฆ์แล้วยังมีการปรับภูมิทัศน์รอบวัดให้มีความร่มรื่นสวยงามให้เหมาะแก่การเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญกุศลและกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาอนึ่งวัดจินดารามเป็นวัดที่สนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุสามเณรส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนมีการจัดปฏิบัติธรรมและบวชสามเณรภาคฤดูร้อนเป็นประจำทุก ๆ ปีนับเป็นวัด ๆ หนึ่งที่มีผลงานด้านการพัฒนาทีเด่นและเป็นวัดที่มีชื่อเสียงในจังหวัดศรีสะเกษโดยเกียรติประวัติล่าสุดได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดอุทยานการศึกษาประจำจังหวัดศรีสะเกษวัดจินดาราม

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระครูจินดากัลยาณกิจ กลฺยาโณ

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 09-07-2565

พระชัยรัชต์ อภินนฺโท

ข้อมูลเมื่อ : 09-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 09-07-2565

พระระวี กตฺตสีโล

ข้อมูลเมื่อ : 09-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 09-07-2565

พระพิชิต อินธิเดช

ข้อมูลเมื่อ : 09-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 09-07-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

อุโบสถทรงไทยประ...

ข้อมูลเมื่อ : 01-07-2565

เปิดดู 28 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น