สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code หัวเรือ

รหัสวัด
04340104001

ชื่อวัด
หัวเรือ

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
ปี 2337

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 01 เดือน ตุลาคม ปี 2527

ที่อยู่
บ้านหัวเรือ

เลขที่
143/1

หมู่ที่
1

ซอย
ศาสนกิจจาทร

ถนน
หมายเลข3002

แขวง / ตำบล
หัวเรือ

เขต / อำเภอ
เมืองอุบลราชธานี

จังหวัด
อุบลราชธานี

ไปรษณีย์
34000

เนื้อที่
8 ไร่ 1 งาน 47 ตารางวา

Line
0849838469หรือ0865819534

มือถือ
0865819534

โทรศัพท์
084-983-8469

อีเมล์
tapaseelo2009@hotmail.com

คุณสมบัติวัด

เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี
เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
เป็นพิพิธภัณฑ์
เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อปต.)

จำนวนเข้าดู : 67

ปรับปรุงล่าสุด : 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 16:35:35

ข้อมูลเมื่อ : 25 มิถุนายน พ.ศ. 2565 07:56:50

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

เดิม วัดหัวเรือ  มีชื่อเรียกว่า  วัดมงกุฎนาวา สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๗   แต่พอเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๗   ชาวบ้านหัวเรือ (คุ้มบ้านหลุ่ม) และบ้านยางเดี่ยว (คุ้มบ้านเหนือ)  ได้พากันสร้างวัดขึ้นใหม่ เพราะวัดเก่าชำรุดทรุดโทรมมาก ทั้งการเดินทางไปมาบำเพ็ญบุญของชาวบ้านคุ้มบ้านยางเดี่ยวที่แยกหมู่บ้านออกไปก็ยากลำบาก วัดมงกุฎนาวา จึงตั้งได้แค่ ๑๐ ปี ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันย้ายที่ตั้งวัดมายังที่ตั้งใหม่ ทางด้านทิศเหนือของที่ตั้งวัดหัวเรือปัจจุบัน ประมาณ ๒๐๐ เมตร แต่สร้างได้แค่ ๓ ปี ก็จำต้องย้ายที่ตั้งวัดใหม่อีกที เพราะเป็นป่าดงที่มียุงชุกชุมทำให้เกิดโรคไข้มาลาเรีย และชาวบ้านมีความเชื่อกันว่าที่ตรงนั้นเจ้าที่แรง ผีป่าหวงที่ตรงนั้น เชื่อว่าผีทำเข็ญ ทั้งยังไม่ได้ตั้งชื่อวัดใหม่จึงจำต้องย้ายไป
            ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๕๐ หลังจากตั้งหมู่บ้านหัวเรือได้ประมาณ ๒๐ ปี จึงได้ย้ายวัดจากป่าดงที่มียุงชุม ลงมาทางใต้ ๒๐๐ เมตร คือที่ตั้งวัดหัวเรือปัจจุบัน และไม่ได้มีการย้ายวัดอีก เดิมตั้งชื่อวัดว่า วัดป่าสัฏวัล แต่ชาวบ้านเคยชินกับชื่อวัดเก่า จึงเรียกกันว่า วัดมงกุฎนาวา ในกาลต่อมาชาวบ้านนิยมเรียกชื่อวัดตามชื่อหมู่บ้าน ว่า วัดบ้านหัวเรือ เพราะเหตุนั้นวัดจึงได้ชื่อว่า วัดบ้านหัวเรือ มาจนตราบเท่าทุกวันนี้ นับจากปีที่เริ่มตั้งเริ่มสร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๗ จนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. ๒๕๖๕ วัดหัวเรือมีอายุได้ ๒๒๘ ปีแล้ว ดังนั้นวัดหัวเรือจึงนับได้ว่าเป็นวัดเก่าแก่อีกวัดหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี
            วัดหัวเรือ มีสมภารหรือเจ้าอาวาสปกครองคณะสงฆ์สืบต่อกันมา ๑๔ รูป ดังนี้
  ๑. ชื่อ หลวงปู่เพียโคตร              (พ่อเฒ่าเพียโคตร) 
  ๒. ชื่อ หลวงพ่อพรมมา              (พ่อจารย์พรมมา)  
  ๓. ชื่อ หลวงพ่ออินทร์                (จารย์ครูอินทร์)    
  ๔. ชื่อ หลวงปู่ชัยมงคล              (พ่อเฒ่าชัยมงคล) 
  ๕. ชื่อ ญาถ่านด่าง                    (ญาครูสุวรรณ)     
  ๖. ชื่อ หลวงปู่มี                        (พ่อเฒ่าจารย์ชามี)            
  ๗. ชื่อ หลวงพ่อสี                      (จารย์ครูสี)                          
  ๘. ชื่อ หลวงพ่อลุน                    (จารย์ครูลุน)            
  ๙. ชื่อ หลวงพ่อเสนเสน             (จารย์ชาเสน)            
๑๐. ชื่อ หลวงพ่อแก้ว                  (จารย์ครูแก้ว)           
๑๑. ชื่อ สมภารคำภา                  (ญาถ่านเส้ว)             
๑๒. ชื่อ พระครูสาสนกิจจาทร  (ญาถ่านทอง)    ฉายา    สุวณฺโณ     ดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒
๑๓. ชื่อ พระครูวรกิจสุนทร           (ญาถ่านสี)      ฉายา    ฐานวโร     ดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
๑๔. ชื่อ เจ้าอธิการไพฑูรย์            (ญาถ่านฑูรย์)  ฉายา    กิตฺติสาโร ดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘
๑๕. เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ชื่อ พระครูสุกิจชัยโสภณ  (ฉัตรชัย)   ฉายา  เมตฺธิโก     ดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕
            สันนิษฐานว่าที่ใช้คำเรียกหา ว่า  พ่อเฒ่า, พ่อจารย์, จารย์ครู, จารย์ชา, นำหน้าหมายถึง ได้ลาสิกขาจากเพศสมณะไป แต่เพราะเคยเป็นเจ้าอาวาสปกครองคณะสงฆ์ผ่านพิธีการฮดสรง (พิธีกองฮดสรงเพื่อยกระดับสมณศักดิ์ในการยกย่องสรรเสริญคุณงามความดีตามฮีตโบราณเล่าขานมา) ชาวบ้านผู้เฒ่าผู้แก่จึงได้ให้สมญานามดังที่กล่าวแล้ว

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระครูสุกิจชัยโสภณ (ฉัตรชัย) เมตฺธิโก

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระมหาอ่อนดี ตปสีโล

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระมหาบุญศรี ญาณวิสุทฺธิเมโธ

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 20-07-2565

พระอนุวัตร สุภกิจฺโจ

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 28-06-2565

พระแสงทอง ตนฺติปาโล

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระปรีชา ปภสฺสโร

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระอุทัย อุทโย

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระสุริยา ฐิตมโน

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 27-06-2565

พระสา มนาโป

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 18-07-2565

ณัฐชัย สุขกาย

ข้อมูลเมื่อ : 27-06-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 18-07-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

ยังไม่มีข้อมูลปูชนียวัตถุสถาน

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น