สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code ประอาง

รหัสวัด
04330603003

ชื่อวัด
ประอาง

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
วันที่ 01 เดือน มกราคม ปี 2299

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายน ปี 2515

ที่อยู่
บ้านประอาง

เลขที่
1

หมู่ที่
3

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
ปราสาทเยอ

เขต / อำเภอ
ไพรบึง

จังหวัด
ศรีสะเกษ

ไปรษณีย์
33180

เนื้อที่
12 ไร่ 3 งาน 38 ตารางวา

โทรศัพท์
0991719322

คุณสมบัติวัด

เป็นวัดประชารัฐสร้างสุข
เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อปต.)
เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนเข้าดู : 45

ปรับปรุงล่าสุด : 1 สิงหาคม พ.ศ. 2565 13:41:54

ข้อมูลเมื่อ : 24 มิถุนายน พ.ศ. 2565 16:50:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

          วัดบ้านประอาง ชื่อเดิม วัดราษฎร์เกษมประอาง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 3 หมู่บ้านประอาง ตำบลปราสาทเยอ อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2299 ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2515 
          วัดราษฎร์เกษมประอาง หมู่ 5 ตำบลปราสาทเยอร์ อำเภอห้วยเหนือ จังหวัดขันธ์ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เดือนมกราคม พุทธศักราช 2299 ปีมะแม ผู้ก่อตั้งวัดเป็นบุคคลแรกคือ ท่านพระอาจารย์กุจรินทร์ ท่านได้ทำการพัฒนาการด้านสาธารณูปการในหลาย ๆ ด้าน มีกำนันเสน พิจารณ์ กำนันตำบลปราสาทเยอ และขุนจำเริญ บุตรพวง (ผู้ใหญ่นาค บุตรพวง) พร้อมด้วยคณะทายกทายิกาประชาชน ได้พร้อมใจกันจัดสรรที่ดินเพื่อสร้างวัดประจำหมู่บ้านหรือเป็นที่เคารพสักการบูชา และบำเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชนในครั้งนั้น เมื่อท่านพระอาจารย์กุจรินทร์ผู้เป็นหัวหน้าสงฆ์ปกครองอยู่เป็นเวลานานถึง 42 ปี จนถึงปีพุทธศักราช 2341 ท่านจึงย้ายไปจำพรรษาที่จังหวัดขุขันธ์ หลังจากนั้นท่านพระอาจารย์สุวรรณ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 4 ได้ร่วมกับชาวบ้านย้ายกุฎิหลังเก่าที่พระอาจารย์กุจรินทร์ ไปสร้างขึ้นใหม่และร่วมสร้างสมทบอีกหนึ่งหลัง ร่วมเป็น 2 หลัง จนถึงเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ท่านพระอาจารย์สิงห์ ที่ชาวบ้านอาราธนานิมนต์มาจากวัดปราสาทเยอใต้ได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างกุฎิขึ้นอีกหนึ่งหลัง รวมแล้วมีกุฎิอยู่ 3 หลัง ภายในวัดในครั้งนั้นประมาณพุทธศักราช 2479 และหลังจากนั้นก็ได้มีเจ้าอาวาสหลายรูปปกครองบำรุงรักษาเสนาสนะสงฆ์ตามลำดับด้วยดีเสมอมา
จนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๐๘ ท่านพระครูปุณณสารกิจ (เดิมชื่อพระอาจารย์เพ็ง อสฺสโว ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านประอาง และเจ้าคณะตำบลปราสาทเยอ ถึงปีพุทธศักราช 2550) ท่านได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างศาลาการเปรียญ อุโบสถ กุฏิ ฯลฯ เป็นที่บำเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชนมาจนถึงปัจจุบัน วัดได้รับพระวิสุงคามสีมา เมื่อพุทธศักราช 2515 และทำการผูกสีมาฝังลูกนิมิต    เมื่อพุทธศักราช 2520 โดยนิมนต์พระครูเกษตรศีลาจารย์ รองเจ้าคณะจังหวัดศรีสะเกษ วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ 
 
อาณาเขต
           ทิศเหนือ ติดหนองน้ำสาธารณะ
           ทิศใต้ ติดโรงเรียนวัดบ้านประอาง
           ทิศตะวันออก ติดถนนสายพยุห์-ขุนหาญ
           ทิศตะวันตก ติดบ้านประอางหมู่ ๓ 
 
เสนาสนะสำคัญภายในวัดประกอบด้วย 
         1. พระอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516
         2. หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2527
         3. ศาลาเอนกประสงค์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537
         4. กุฏิสองชั้น สร้างเมื่อ พ.ศ. 2524
         5. ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2509
         6. หอฉัน สร้างเมื่อ พ.ศ. 2532
         7. ฌาปนสถาน (เมรุ) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537
         8. ซุ้มประตูทิศตะวันออก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2543
         9. ซุ้มประตูทิศตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2549
         10. กุฏิชมเดียว สร้างเมื่อ พ.ศ.  2549
         11. เจดีย์บรรจุอัฐิพระครูปุณณสารกิจ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2551
 
การศึกษา
          มีโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมแผนธรรมเปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2508
 
การบริหารและปกครอง
มีเจ้าอาวาสจำนวน 16 รูปดังนี้
         1. พระอาจารย์กุจรินทร์  ผู้ก่อตั้งวัดขึ้น พ.ศ. 2299 – 2341 
         2. พระอาจารย์ขันธ์ เจ้าอาวาส พ.ศ. 2342 – 2370 
         3. พระอาจารย์ด้วง เจ้าอาวาส พ.ศ. 2371 – 2396 
         4. พระอาจารย์สุวรรณ์ เจ้าอาวาส พ.ศ. 2397 – 2426 
         5. พระอาจารย์มัย เจ้าอาวาส พ.ศ. 2537 - 2435
         6. พระอาจารย์สิงห์ เจ้าอาวาส พ.ศ. 2436 - 2480
         7. พระอาจารย์มัย เจ้าอาวาส พ.ศ. 2481 - 2483
         8. พระอาจารย์ยอด เขมิโย เจ้าอาวาส พ.ศ. 2484 - 2495
         9. พระอาจารย์สุทิน สุภทฺโท รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2496 - 2498
        10. พระอาจารย์เพียง เตชธมฺโม เจ้าอาวาส พ.ศ. 2499 - 2501
        11. พระอาจารย์ดำ สารธมฺโม  เจ้าอาวาส พ.ศ. 2502 - 2503
        12. พระอาจารย์คำใบ คนฺธสีโล รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2504 - 2504
        13. พระอาจารย์โต๊ะ วชิโต เจ้าอาวาส พ.ศ. 2504 - 2505
        14. พระอาจารย์ใบ อนนฺโท  เจ้าอาวาส พ.ศ.2505 - 2507
        15. พระครูปุณณสารกิจ ( เพ็ง อสฺสโว ) เจ้าอาวาส พ.ศ. 2508 – 2550
        16. พระอธิการสุพิศ อํสุสีโล เจ้าอาวาส พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน
 
 
 
 

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระอธิการสุพิศ อํสุสีโล

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 17-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระสมพงษ์ สุภทฺโท

ข้อมูลเมื่อ : 17-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระเบญจรงค์ ภทฺทเตโช

ข้อมูลเมื่อ : 17-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-08-2565

พระสมยศ อธิจิตโต

ข้อมูลเมื่อ : 17-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-08-2565

พระวิไล ฐิตมโน

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-08-2565

พระนที อภินฺนโท

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 01-08-2565

พระชิษณุพงศ์ จนฺทสาโร

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 18-07-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

ยังไม่มีข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

ยังไม่มีข้อมูลปูชนียวัตถุสถาน

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น