สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
10 วัด
วัดราษฎร์
5385 วัด
สำนักสงฆ์
70 วัด
ที่พักสงฆ์
364 วัด
วัดร้าง
4 วัด
วัดทั้งหมด
5834 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8967 รูป
สามเณร
800 รูป
แม่ชี
31 รูป
ศิษย์วัด
8 คน
บุคคลทั่วไปชาย
4 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
9810 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
42 รูป
สามเณร
3 รูป
แม่ชี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
45 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7493 รูป
ลาสิกขา
29 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code ไพรบึง

รหัสวัด
04330601002

ชื่อวัด
ไพรบึง

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
ปี 2160

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 22 เดือน พฤศจิกายน ปี 2193

ที่อยู่
วัดไพรบึง 142 หมู่ 15 ถนนพยุห์-ขุนหาญ ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 33180

เลขที่
142

หมู่ที่
15

ซอย
-

ถนน
ถนนพยุห์-ขุนหาญ

แขวง / ตำบล
ไพรบึง

เขต / อำเภอ
ไพรบึง

จังหวัด
ศรีสะเกษ

ไปรษณีย์
33180

เนื้อที่
12 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา

Facebook
คลิกดู

มือถือ
0943151764 (หลวงพ่อใหญ่)

คุณสมบัติวัด

เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น
เป็นโรงเรียนการกุศลของวัด
เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อปต.)
เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนเข้าดู : 156

ปรับปรุงล่าสุด : 15 มิถุนายน พ.ศ. 2566 16:34:56

ข้อมูลเมื่อ : 24 มิถุนายน พ.ศ. 2565 20:33:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

 
ประวัติวัดไพรบึง
 
       ประวัติวัดไพรบึงไม่ปรากฏหลักฐานแน่นอน แต่มีการจดบันทึกไว้พอสังเขปส่วนมากได้มา
                             จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุเล่าต่อๆ กันมาเอาความแน่นอนไม่ได้ นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดี
                             สันนิษฐานว่า ตามตำนาน เมืองขุขันธ์ได้ขอกำลังจากเมืองคาจำปาสักมาช่วยรบ ทางเมืองคาจำปาสักได้
                             จัดทัพมาช่วยรบโดยมีท่านจำปาและท่านสุเภียเป็นผู้นำทัพ ซึ่งการยกทัพสมัยนั้นนิยมไปทั้งครอบครัว
                             โดยใช้เส้นทางทางช้างเผือกผ่านเมืองน้ำอ้อม เมื่อมาถึงบริเวณที่ตั้งหมู่ที่ ๑๕ บ้านไพรบึง ตำบลไพรบึง
                             (ในปัจจุบัน) ได้รับข่าวจากเมืองขุขันธ์ว่าการรบได้รับชัยชนะแล้ว ทั้งสองจึงสั่งหยุดเคลื่อนทัพและ
                             ได้พิจารณาเห็นว่าบริเวณนี้มีทำเลที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมในการตั้งหมู่บ้าน จึงลงหลักปักฐานสร้างหมู่บ้าน
                              บริเวณนี้ อาณาเขตด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดหมู่บ้านชาวส่วย ซึ่งก็ถูกเกณฑ์ไปรบในศึกครั้งนี้เช่นกัน
                              (ไปทั้งครอบครัวทั้งหมู่บ้าน) ด้านทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดหนองไพรบึง ด้านตะวันออกและ
                              ด้านทิศใต้เป็นป่า ชื่อหมู่บ้าน แปร็ยเบิง (แปร็ย คือต้นปรือ อยู่ในหนองไพรบึงด้านทิศเหนือ เบิง คือ
                              ต้นบึง อยู่ทั่วไปในหนองไพรบึง) หลังจากสร้างหมู่บ้าน ผู้นำทัพทั้งสองได้เห็นความจำเป็นด้านพิธีกรรม
                              ทางศาสนา ควรหาผู้นำด้านศาสนาและมีพระภิกษุสงฆ์ ท่านจำปาพิจารณาเห็นควรว่า ท่านสุเภียมี
                              ความเฉลียวฉลาดและสุขุมรอบครอบ จึงขอให้ท่านบวชพระเป็นผู้นำฝ่ายสงฆ์ ส่วนท่านจำปาเป็นผู้นำฝ่าย
                              ฆราวาส ด้านตะวันออกหมู่บ้านชาวส่วยมีวัดร้าง บริเวณนี้ชาวไพรบึงโบราณเรียกว่า กุไดจ็ะ (กุฏิเก่า)
                              การสร้างวัดของชาวไพรบึงกำหนดสร้างด้านตะวันออกหมู่บ้าน เริ่มต้นหาแหล่งดินทำอิฐเพื่อสร้างอุโบสถ
                              เป็นเบื้องต้น โดยขุดดินบริเวณทิศใต้ศาลาประชาคมหมู่ที่ ๘ บ้านไพรบึง ตำบลไพรบึง (ในปัจจุบัน)
                              จนบริเวณนี้มีน้ำขังตลอดทั้งปี จึงสร้างสิมกลางน้ำเพื่อประกอบพิธีลงอุโบสถสังฆกรรมเป็นเวลาหลายปี
                              (ชาวไพรบึงโบราณเรียกบริเวณนี้ว่าหนองสิมจนถึงปี พ.ศ. ๒๐๒๐ อุโบสถจึงสร้างสำเร็จ (ตำแหน่ง
                              อุโบสถในปัจจุบันที่สร้างกับสิมเก่าหรืออุโบสถเดิม) เจ้าอาวาสองค์แรก คือพระอาจารย์ “สุเภีย” ชื่อวัดที่
                              ระบุเป็นภาษาไทยครั้งแรกคือ “วัดจำปาสุรภีย์” บางท่านเคยพบชื่อ “วัดจำปาสุรภีย์ริม” โดยเรียกชื่อตาม
                              ผู้นำทั้งสองท่าน บางท่านมีความเห็นว่าเรียกตามชื่อพืชที่ขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ คือ ดงจำปาและ
                              สุรภี (สารภี)
วัดไพรบึงมีเจ้าอาวาสสืบต่อกันมาหลายรูปและได้พัฒนามาจวบจนที่ปัจจุบัน

แผนที่ภาพ

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระจิรายุ จนฺทโชโต

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระธันยพัฒน์ ขนฺติสาโร

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระเพ็ชร กิตฺติสาโร

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระอัครชัย โชติโก

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระกรุณา โกวิโท

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระชัยวัฒน์ อาภสฺสโร

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระธนิต อิทธฺญาโณ

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระตุลธรณ์ จิตฺตทนฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 29-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

โกมล ฐานธมฺโม

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 18-07-2565

พระครูโอภาสธรรมานุกิจ จารุธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

พระครูปภาสธรรมากร ปภสฺสโร

ข้อมูลเมื่อ : 18-07-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 29-07-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

งานนมัสการไหว้พระธาตุ

ข้อมูลเมื่อ : 20-01-2567

เปิดดู 56 ครั้ง

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

พระธาตุพุทธเจดี...

ข้อมูลเมื่อ : 14-12-2566

เปิดดู 48 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น